สรุปหลักเกณฑ์การกำกับดูแล

สรุปหลักเกณฑ์สำคัญเกี่ยวกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

บทบาทหน้าที่ของบริษัทจัดการ

ผู้มีบทบาทสำคัญในการบริหารจัดการเงินของสมาชิก

ให้เติบโตตามเป้าหมาย เพื่อมีเงินพอใช้หลังเกษียณ

คู่มือการปฏิบัติงาน

การยื่นจดทะเบียนและนำส่งรายงาน

ข้อมูลสถิติ

  • ข้อมูลจำนวนกองทุนและการลงทุนของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ คลิก
  • รายงานการดำเนินงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ดูทั้งหมด
    • รายงานการดำเนินงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ สำหรับช่วงครึ่งแรกของปี 2567 

    • รายงานการดำเนินงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ สำหรับช่วงครึ่งหลังของปี 2566

    • รายงานการดำเนินงานกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ สำหรับช่วงครึ่งแรกของปี 2566

บทความที่น่าสนใจเกี่ยวกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

บทความสำหรับคณะกรรมการกองทุนและผู้สนใจ โดยผู้เชี่ยวชาญด้านการออมการลงทุนเพื่อเกษียณอายุ

เงินคงค้างของสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

เพื่อนสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (provident fund: PVD) คงทราบกันดีว่าการออมผ่านกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเป็นการออมระยะยาวสำหรับลูกจ้างเพื่อสำรองไว้ใช้ในยามเกษียณอายุ แต่ท่านรู้หรือไม่ว่า ในแต่ละปีมีสมาชิกที่สิ้นสมาชิกภาพไม่ว่าจะด้วยการลาออกจากกองทุน ออกจากงาน หรือเกษียณอายุ แต่กลับไม่มารับเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่ตัวเองเก็บออมไว้ จนกลายเป็น “เงินคงค้าง”

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพกับทางเลือกในการออมภาคบังคับ

การมีระบบการออมภาคบังคับจะช่วยตอบโจทย์การเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ของไทย และบรรเทาปัญหาเรื่องคนไทยขาดการวางแผนทางการเงินและมีเงินเก็บไม่เพียงพอยามเกษียณ 

บทบาทบริษัทจัดการ สะท้อนทุกบททุกบาทกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

บริษัทจัดการทุกรายนอกเหนือจากการบริหารจัดการเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพตามนโยบายการลงทุนที่สมาชิกเลือกไว้แล้ว ยังมีบทบาทอื่นอย่างไรอีก

Q&A กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เมื่อมีคำถามมาก็มีคำตอบไป

เมื่อวันพุธที่ 7 มิถุนายน 2566 ที่ผ่านมา สำนักงาน ก.ล.ต. ได้จัดงานสัมมนาออนไลน์ “กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ นายจ้างให้ นายจ้างได้ ลูกจ้างมั่นคง” ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี มีผู้เข้าร่วมงานสัมมนากว่า 380 ราย ภายในงานสัมมนามีผู้สนใจสอบถามข้อสงสัยต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง